PPP Plastics ประกาศความร่วมมือ “Building Ecosystem for Plastic Circularity” ผนึกพันธมิตรเดินหน้ายกระดับซาเล้งและร้านรับซื้อของเก่าสร้างเศรษฐกิจหมุนเวียน

โครงการความร่วมมือภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม เพื่อจัดการพลาสติกและขยะอย่างยั่งยืน (PPP Plastics) ภายใต้การนำขององค์กรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (TBCSD) ร่วมกับ กลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และองค์กรภาคีเครือข่ายจากทุกภาคส่วนที่เป็นผู้นำด้านการกำหนดนโยบายและกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการจัดการพลาสติกของประเทศไทย ได้ร่วมกันจัดงานแถลงข่าวผลงาน PPP Plastics “Building Ecosystem for Plastic Circularity” โดยมีการแถลงผลการดำเนินงานและการส่งมอบตำแหน่งประธาน PPP Plastics การเปิดตัวโครงการยกระดับมาตรฐานซาเล้งและร้านรับซื้อของเก่า และการเสวนาหัวข้อการเตรียมพร้อมของประเทศไทยในการเข้าร่วมข้อตกลงระหว่างประเทศด้านมลพิษจากพลาสติก

TEI ผนึกนานาชาติ โชว์ Envisioning 2030 ขับเคลื่อนประเทศไทยด้วย Circular​ Model สร้างแนวร่วมระดับภูมิภาค เร่งแก้ปัญหาขยะพลาสติกทั้งอินโด-แปซิฟิก

สถานการณ์ “ขยะพลาสติก” เป็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่สำคัญในระดับประเทศ ระดับภูมิภาคและระดับโลก หากยังไม่มีระบบการจัดการขยะที่เพียงพอและไม่มีประสิทธิภาพได้มีการคาดการณ์ว่าภายใน 20 ปีข้างหน้า จะมีขยะหลุดรอดออกสู่สิ่งแวดล้อมทั่วโลก จำนวนมากถึง 700 ล้านตัน ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศบนบก และระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งห่วงโซ่อาหารของมนุษย์

ส.อ.ท. โดย TIPMSE กระตุ้นผู้ประกอบการต่อเนื่อง เร่งปรับตัวสู่ EPR ขยายความรับผิดชอบผู้ผลิต รับมือยุโรปวางกฏเข้มด้านบรรจุภัณฑ์

เมื่อความยั่งยืน (Sustainability) กลายเป็นโจทย์สำคัญให้ภาคธุรกิจต้องปรับตัวให้ทันตามกระแสของโลกที่กำลังเปลี่ยนไป โดยเฉพาะปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือ Climate change ที่รุนแรงขึ้นและส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง

โรดแม็พเลิกใช้ Single-use plastic หลุดเป้า แนะเพิ่มซาเล้ง ร้านรับซื้อของเก่า ทุกชุมชนเหมือนที่ทำการไปรษณีย์​

ปัจจุบันขยะพลาสติกเป็นปัญหาที่ทั่วโลกกำลังตื่นตัวเพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหา ซึ่งประเทศไทยวาง Roadmap การจัดการขยะพลาสติก พ.ศ. 2561 – 2573  เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาขยะพลาสติกทั้งทางบกและทะเลให้เกิดผลเป็นรูปธรรม โดยเป้าหมายสูงสุด คือ “ขยะ” ต้องไม่ใช่ “ขยะ” เพื่อป้องกันไม่ให้ขยะพลาสติกเล็ดลอดสู่ธรรมชาติ โดยเน้นจัดการจากต้นทาง สร้างมูลค่าในห่วงโซ่การจัดการพลาสติก และประชาชนต้องให้ความร่วมมือเริ่มต้นที่ใช้ให้น้อยที่สุด ทิ้งให้ถูกที่ กำจัดอย่างถูกวิธี คัดแยก และนำไปใช้ประโยชน์ในได้มากที่สุดเพื่อให้เกิดการจัดการขยะพลาสติกอย่างยั่งยืน