หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง องค์ความรู้แห่งศาสตร์พระราชา สู่โมเดลการสร้างแบรนด์อย่างยั่งยืน

แนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หรือ ศาสตร์พระราชา (Sufficiency Economy Philosophy – SEP) ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ตามพระราชดำรัสต่อไปนี้

‘ผ้าห่มพลังงานแสงอาทิตย์’ อังกฤษเสนอไอเดียพัฒนา ‘สินค้าเพื่อความยั่งยืนแบบพอเพียง’ ที่ทำให้ทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงได้

การได้เห็นผู้คนโดยเฉพาะคนฐานะยากจนในสังคมได้มีส่วนร่วมในการสร้างความยั่งยืนนับเป็นเป้าหมายหลักข้อหนึ่งของ Mireille Steinhage นักออกแบบชาวอังกฤษที่ผลักดันให้ตัวเธอเดินหน้าออกแบบและสร้างสรรค์ผลงานที่ทุกคนเข้าถึงได้ในวงกว้าง

ม.มหิดล เนรมิต “สวนผักลอยฟ้า” สู้วิกฤติเศรษฐกิจ – มลพิษกลางกรุง แถมใช้ประโยชน์ทางการศึกษา

ยุคสมัยที่เปลี่ยนไป ทำให้ดาดฟ้าไม่ได้เป็นเพียงสถานที่ติดตั้งจานดาวเทียม แต่สามารถประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย และอาจเนรมิตให้กลายเป็น “แปลงเกษตรของคนเมือง” ได้ดั่งใจฝัน

นายกชื่นชมหลายภาคส่วนร่วมสร้างโมเดล”บึงบางซื่อ” ต้นแบบชุมชนพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน

ชาวบ้านบึงบางซื่อตื้นตันได้บ้านใหม่ พร้อมทะเบียนบ้าน มีน้ำ-ไฟ สัญญาจะพัฒนาเป็นสวนเกษตรอินทรีย์กลางกรุง และบึงน้ำเป็นแก้มลิงและปอดให้คนเมือง นายกชื่นชม ชุมชนสามัคคี มีวินัยออมเงินสร้างบ้าน ยกให้เป็นต้นแบบชุมชนเมืองเข้มแข็ง ขอบคุณภาครัฐ-เอกชน ที่สร้างกระบวนการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมให้ชุมชนพึ่งพาตนเอง

“๕ ธันวา ตามรอยพระราชา” เรียนรู้ศาสตร์แห่งแผ่นดิน ที่ชุมชนบ้านศาลาดิน

เมื่อวันที่ 5 ธันวาคมที่ผ่านมา ตรีเพชรอีซูซุเซลส์ จำกัด ศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน) ร่วมกับ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.) มูลนิธิชัยพัฒนาฯลฯ ร่วมสืบสานศาสตร์พระราชา จัดกิจกรรม “๕ ธันวา ตามรอยพระราชา” ผ่านการเรียนรู้ของชุมชนบ้านศาลาดิน ที่น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาสู่เกษตรทฤษฏีใหม่นำมาปฏิบัติพลิกฟื้นชีวิตเกษตรกรที่อยู่ยั่งยืนอย่างมีความสุข

มูลนิธิเอสซีจี บ่มเพาะต้นกล้าชุมชน…มุ่งสร้างนักพัฒนารุ่นใหม่ เพื่อพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน

พลังของคนหนุ่มสาว มีความสำคัญในทุกๆ ส่วนของสังคม เพราะมีความท้าทายต่อพลังความคิด พลังใจ พลังกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำงานในบ้านเกิดในฐานะ “นักพัฒนาท้องถิ่นยุคใหม่” ที่จะต้องมีความพร้อมในการขับเคลื่อนสืบทอดงานชุมชนในมิติต่างๆ เพื่อให้ชุมชนท้องถิ่นมีความเข้มแข็งอย่างสมดุล และยั่งยืน

“เพาะพันธุ์ปัญญา” หว่านกล้าสู่ ”ไพรบึงวิทยาคม” ปูฐานการศึกษาอนาคต

“ตั้งแต่ได้เข้ามาในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา มีการเปลี่ยนแปลงมากมายที่เกิดขึ้นกับชีวิตของหนู จากคนไม่เอาไหน ก็กลายมาเป็นคนรับผิดชอบมากขึ้น”