SOS ร่วมขจัด ‘ขยะอาหาร’ และ ‘ความหิวโหย’ เป็นศูนย์ ผ่านความร่วมมือ ZERO SUMMIT 2022

กลับมาอีกครั้งกับงานเสวนาเกี่ยวกับความยั่งยืนทางอาหารที่เน้นย้ำเรื่องขยะอาหาร และความไม่มั่นคงทางอาหาร ZERO SUMMIT 2022 โดยเหล่าผู้เชี่ยวชาญในวงการอาหารระดับแนวหน้าในประเทศไทย ที่จะมามาร่วมแชร์ความรู้ ประสบการณ์และการปฏิบัติงานจริง และร่วมสร้างแรงผลักดันในการเปลี่ยนแปลงธุรกิจ และอุตสาหกรรมภาคอาหารในระดับประเทศอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน!

ANA จับมือสตาร์ทอัพญี่ปุ่น เปลี่ยนแอปเปิ้ลที่เหลือจากผู้โดยสาร เป็นหนังคลุมพนักเก้าอี้บนเครื่อง

ANA จับมือ appcycle Inc. เปลี่ยน Food waste จากแอปเปิ้ลที่เหลือบนเครื่องบิน มาผลิตเป็นหนังวีแกน สำหรับคลุมที่พิงศรีษะบนเก้าอี้ในเครื่องบิน ANA Green Jet เที่ยวบินแห่งความยั่งยืนของสายการบิน All Nippon Airways

Sainsbury’s ผุด “Sainsfreeze” โชว์ไอเดียซูเปอร์มาร์เก็ตแช่แข็ง ช่วยลดการสร้างขยะอาหาร

มีปริมาณอาหารถึง 1 ใน 3  ที่ผลิตมาเพื่อการบริโภค แต่สุดท้ายแล้วต้องกลายมาเป็น Food waste ซึ่งเป็นสาเหตุของการสร้างก๊าซเรือนกระจก (GHG) ด้วยสัดส่วนถึง 8-10% ในแต่ละปี

เกาหลีใต้ปรับเปลี่ยนระบบการติดฉลากวันหมดอายุ ลดปริมาณขยะอาหาร

เกาหลีใต้ ประกาศปรับเปลี่ยนกฎหมายเกี่ยวกับการติดฉลากวันหมดอายุสินค้า เป็นครั้งแรกในรอบ 38 ปี โดยเริ่มกำหนดให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือนมกราคม ปี 2566 เป็นต้นไป

Laika ชวนน้องหมา “รักษ์โลก” ผลิตอาหารจากโปรตีนแมลง เพื่อลดขยะอาหาร

ก่อนหน้านี้เราคงคุ้นหูกับอาหารประเภทโปรตีนทางเลือกผลิตจากพืชที่หลายแบรนด์ต่างนำเสนอออกมาเพื่อให้มนุษย์อย่างเราๆได้ลิ้มลองความอร่อยที่แปลกใหม่ แถมยังช่วยลดคาร์บอนฟุตพริ้นท์จากการบริโภคโปรตีนจากสัตว์ได้อีกด้วย

ต๊าชชช! อึ้งกับผลงานของ Barbara Gollackner ดีไซเนอร์ไอเดียเจ๋งแปลงขยะอาหารเป็นTableware

ขยะอาหารยังคงเป็นประเด็นใหญ่ที่ควรได้รับการแก้ไขกันอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าสถานการณ์โควิด-19 จะมีส่วนช่วยให้ปริมาณขยะอาหารลดลงเนื่องจากผู้คนพยายามลดค่าใช้จ่ายในส่วนของอาหารการกินจากภาวะเศรษฐกิจซบเซา กอปรกับร้านค้าที่ปิดให้บริการเป็นจำนวนมากก็ตาม

6 เทรนด์อาหารยั่งยืนที่จะทำให้คุณเพลิดเพลินกับการกินในปี 2021

ปฏิเสธไม่ได้ว่าการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ส่งผลให้พฤติกรรมการใช้ชีวิตของเราในหลายๆด้านเปลี่ยนแปลงไปโดยสิ้นเชิงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่ของการกินดื่มที่ผู้คนจะเริ่มคำนึงถึงปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมมากขึ้น

เทสโก้โลตัส ขยายโครงการ”กินได้ไม่ทิ้งกัน”สู่ภูเก็ตเพื่อเป้าหมายลดขยะอาหารครึ่งหนึ่งปี 2030

เทสโก้ โลตัส เดินหน้าขยายโครงการ “กินได้ไม่ทิ้งกัน” สู่จังหวัดภูเก็ต บริจาคอาหารที่จำหน่ายไม่หมดแต่ยังรับประทานได้จากสาขาใหญ่ทุกสาขาให้มูลนิธิและผู้ยากไร้ ท่ามกลางผลกระทบจากโควิด-19 ที่ส่งผลให้ประชาชนบนเกาะตกงานและขาดรายได้เป็นจำนวนมาก นอกจากนั้น ยังร่วมกับหอการค้าไทย ขับเคลื่อนวาระขยะอาหารในกลุ่มเครือข่ายสมาชิกทั่วประเทศ

เบื้องหลังอาหารถูกทิ้งเป็น “ขยะ” ทั้งที่ยังกินได้

อาหารยังกินได้ แต่ถูกทิ้งเป็น “ขยะ” จากบ้าน 13,000 ล้านปอนด์ จากธุรกิจบริการกว่า 3 พันล้านปอนด์ เป็นปัญหาใหญ่ในสหราชอาณาจักร Tesco คลายความกังวลกับฉลากที่ระบุวันที่ควรบริโภคก่อน (Best Before Dates) ของสินค้าประเภทผักและผลไม้กว่า 70 รายการเพื่อลดขยะอาหาร

เปิดวาร์ป เฟอร์ฯ Pentatonic ขยะทั้งนั้น ในยุค Circular Economy

SatrtUp อย่าง Pentatonic นำขยะอาหาร สมาร์ทโฟน กระป๋อง ก้นบุหรี่ ฯลฯ ไปอยู่ในเฟอร์นิเจอร์ตกแต่งบ้าน ด้วยกระบวนการฉีดขึ้นรูปที่เหมาะสม และ มุ่งเป้าหลักที่จะเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมการผลิตเฟอร์ฯในยุค Circular Economy