“Ugly Veggies” แพลตฟอร์มขาย “ผักไม่สวย แต่มีคุณภาพ” งานวิจัยเด่นจาก มข. ช่วยลดขยะอาหาร-สร้างรายได้ให้เกษตรกร

สถานการณ์ ‘ปัญหาขยะอาหาร’ เป็นประเด็นที่ทุกประเทศกำลังร่วมกันแก้ไข โดยการผลักดันและประยุกต์เศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อบริหารจัดการและบูรณาการข้อมูลการลดการสูญเสียอาหารและขยะอาหาร (Food loss and Food Waste) ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เป็นกลยุทธ์ที่ทุกภาคส่วนให้ความสำคัญ รวมถึงมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยมี ‘Ugly Veggies Thailand’ เป็นอีกหนึ่งโครงการที่เข้ามา​ช่วยลดปัญหาดังกล่าว

ฝรั่งเศสพัฒนา ‘นวัตกรรมหลังคาเย็นจากเปลือกหอยนางรม​’ เพิ่มพื้นที่หลังคาเป็นสีขาว​​ช่วยสะท้อนความร้อน แถมประหยัดพลังานได้ถึง 50%

แน่นอนว่าการได้อยู่ในห้องเย็นๆ ในวันที่อากาศร้อนคงเป็นสวรรค์ของใครหลายคน และแม้ว่าการเปิดแอร์เป็นโซลูชั่นในการคลายร้อนได้ดีอีกวิธีหนึ่ง แต่​ก็มีผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน เพราะการใช้งานเครื่องปรับอากาศมีส่วนเพิ่มปริมาณ​ก๊าซเรือนกระจกทุกครั้งที่มีการใช้งาน ส่งผลให้อุณหภูมิโลกเพิ่มสูงขึ้น

‘สุขภาพ สังคมสูงวัย ขยะอาหาร’ 3 เทรนด์ยั่งยืนมาแรง ที่ธุรกิจร้านอาหารต้องรู้ ในยุค Post Covid

หลังสถานการณ์โควิด-19 ​คลี่คลายลง ทำให้มูลค่าธุรกิจร้านอาหารในปี 2565 เติบโตขึ้นจากปีก่อนหน้า 17.2% โดยมีมูลค่ารวม 5.7 แสนล้านบาท และคาดว่าจะสามารถเติบโตขึ้นต่อเนื่องในปี 2566  ที่ราว​ 7.8% ด้วยมูลค่า 6.2 แสนล้านบาท และในปี 2567 จะเติบโตขึ้นอีก 5.8% พร้อมมูลค่าตลาดจะขยับไปอยู่ที่​ 6.5 แสนล้านบาทตามลำดับ

“ชาบูชิ” สานต่อภารกิจ Zero Food Waste ผ่านโครงการ #กินหมดเกลี้ยงCHALLENGE ​รณรงค์ผู้บริโภครับประทานอาหารไม่เหลือทิ้ง  

ปัจจุบัน สถานการณ์ปัญหาการสูญเสียอาหาร (Food Loss) และขยะอาหาร (Food Waste) ที่ถูกทิ้งไปอย่างเปล่าประโยชน์นั้น นับเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งควรได้รับการแก้ไขอย่างจริงจังและเร่งด่วน

เมืองสุขสยาม ไอคอนสยาม จับมือ ธนาคารกสิกรไทย และ Fest by SCGP ผนึกกำลังทั้งภาครัฐและเอกชนจัดงาน “SOOKSIAM สุขรักษ์โลกปี2” เปลี่ยน “ขยะอาหาร” ให้เป็น “ปุ๋ย”

เมืองสุขสยาม  ไอคอนสยาม ร่วมกับ ธนาคารกสิกรไทย,  บริษัท ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จำกัด ใน Fest by SCGP, คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โครงการสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน จัดงาน“SOOKSIAM สุขรักษ์โลก ปี2” #SaveTheEarth  ระหว่างวันที่ 17 กรกฎาคม 2566 ถึง 31กรกฎาคม 2566  ณ เมืองสุขสยาม ชั้น G ไอคอนสยาม ภายใต้คอนเซ็ปต์ เปลี่ยน “ขยะอาหาร” ให้เป็น “ปุ๋ย” ทางเลือกในการกำจัดขยะอาหารที่ “ยั่งยืน”

‘CRUZ FOAM’ โฟมจากเปลือกกุ้ง บรรจุภัณฑ์ยั่งยืนทางเลือก​ที่ ลีโอนาร์โด ดิคาปริโอ และแอชตัน คุชเชอร์ ร่วมลงทุนด้วย

ความสำเร็จในการพัฒนา ครูซโฟม ‘CRUZ FOAM‘ โฟมกันกระแทก Biodegradable ที่นำสารตั้งต้นอย่าง ไคติน (Chitin) ซึ่งเป็นสารโพลิเมอร์ชีวภาพ มีคุณสมบัติในการช่วยการคงตัว และมักพบตามธรรมชาติ ในเปลือกของสัตว์ทะเลอย่างปู หรือกุ้ง มาต่อยอดเป็นบรรจุภัณฑ์ที่มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ไอเดียสุดเจ๋ง Makro โคลอมเบีย ร่วมกับเอเจนซี่ Grey ใช้เฉดสีบนสติกเกอร์เป็นเครื่องมือช่วยลด Food waste

หลายคนคงมีประสบการณ์ช้อปปิ้งผักผลไม้ตามซูเปอร์มาร์เก็ต และส่วนใหญ่น่าจะคุ้นเคยกับฉลากแบบสติกเกอร์ที่ติดไว้บนเปลือกของผลไม้แต่ละประเภท​ ซึ่งส่วนใหญ่สติกเกอร์เหล่านี้มักจะติดไว้เพื่อบอกว่าแบรนด์ชื่ออะไร โดยไม่ได้ก่อประโยชน์ในด้านอื่นๆ

โลตัส จับมือ กทม. ต่อยอดโครงการกินได้ไม่ทิ้งกัน x ไม่เทรวม บริจาคอาหารที่จำหน่ายไม่หมดให้พนักงานกวาดถนน เดินหน้าเป้าหมายลดขยะอาหารให้เป็นศูนย์ภายในปี 2030

โลตัสผนึกกำลัง กรุงเทพมหานคร ต่อยอด 2 โครงการกินได้ไม่ทิ้งกัน ของโลตัส และ โครงการไม่เทรวม ของกรุงเทพมหานคร ร่วมมือบริหารจัดการอาหารส่วนเกินโดยบริจาคอาหารที่จำหน่ายไม่หมดแต่ยังมีคุณภาพดีและสามารถรับประทานได้ จากโลตัส โกเฟรช ให้พนักงานกวาดถนนของ กทม.ในเขตต่าง ๆ

การกลับมาของ ‘โออิชิ แกรนด์’ พร้อมการสร้าง Best Practice สู่เป้าหมาย ‘Zero Food Waste ​2030’ ​ตอกย้ำ Authentic Japanese Food

หลังปิดให้บริการไปราว 5 เดือน วันนี้ ‘โออิชิ แกรนด์ สยามพารากอน’ ได้กลับมาเปิดให้บริการลูกค้าอีกครั้ง ใน​พื้นที่ใหม่ บริเวณชั้น 4 โซน ฟู้ด พาสสาจ (ฝั่งนอร์ธ) ด้วยบรรยากาศและคอนเซ็ปต์ที่แตกต่างไปจากเดิม ทั้งต่างไปจากสิ่งที่โออิชิ แกรนด์ เคยเป็น และยังต่างจากวิธิคิดของร้านอาหารในรูปแบบบุฟเฟต์ทั่วไปที่เราคุ้นเคยกันอีกด้วย

อายิโนะโมะโต๊ะ ลด Food Loss ในกระบวนการผลิตได้แล้ว 43% เร่งเครื่องเพิ่มทั้ง Productivity และ Value ขับเคลื่อนธุรกิจเติบโตอย่างยั่งยืน

ข้อมูลจาก Food Waste Index Report ของโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UN Environment Program) เปิดเผยว่า ในแต่ละปี อาหารกว่า 1,300 ล้านตัน หรือ 1 ใน 3 ของอาหารที่ผลิตได้ทั่วโลก ต้องกลายเป็นขยะอาหารที่ถูกทิ้งไปอย่างสูญเปล่าและสร้างก๊าซเรือนกระจกถึง 8%