ทำความรู้จักระบบนิเวศ Blue Carbon ศักยภาพของ ‘ป่าชายเลนและหญ้าทะเล’ ที่ดูดซับคาร์บอนดีกว่าป่าไม้ 5-10 เท่า และต่อยอดมูลค่าเศรษฐกิจได้กว่า 4.8 แสนล้านบาทต่อปี

ระบบนิเวศ Blue Carbon Ecosystem (BCE) ทั้งป่าชายเลนและหญ้าทะเล เป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอนตามธรรมชาติที่น่าสนใจ ทั้งในแง่ปริมาณคาร์บอนที่กักเก็บได้ และต้นทุนการลดก๊าซเรือนกระจกอยู่ในระดับที่แข่งขันได้เมื่อเทียบกับระบบนิเวศบนบก

CEO ซีพีเอฟ ลงพื้นที่ติดตามโครงการฟื้นฟูป่าชายเลน ต.บางหญ้าแพรก จ.สมุทรสาคร

นายประสิทธิ์ บุญดวงประเสริฐ ประธานคณะผู้บริหาร บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ และครอบครัว พร้อมด้วยพนักงาน ลงพื้นที่ เยี่ยมชมโครงการ “ซีพีเอฟ ปลูก ปัน ป้อง ป่าชายเลน” ที่ ต.บางหญ้าแพรก จ.สมุทรสาคร ซึ่งเป็นหนึ่งในเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศวิถีชุมชนที่ซีพีเอฟให้การสนับสนุน ต่อยอดจากโครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าชายเลน และยังเป็นเส้นทางที่ชมรมท่องเที่ยวจิตอาสาของซีพีเอฟ จะนำพนักงานในองค์กรมาทำกิจกรรมดีๆ เพื่อร่วมกันดูแลสิ่งแวดล้อม

“นักสิ่งแวดล้อม” แนะปลูกป่าชายเลนลดโลกร้อนได้ดีที่สุด!

โลกร้อนส่งผลวิกฤติภัยแล้งในรอบ 20 ปี ดร.สนใจ หะวานนท์ ผู้เชี่ยวชาญป่าชายเลนจากกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ชวนปลูกต้นไม้ลดโลกรวมทั้งปลูกป่าชายเลน เพราะสามารถกักเก็บคาร์บอนฯ ได้มากกว่าป่าบกในพื้นที่เท่ากัน

ซีพีเอฟ ชวนจิตอาสา 300 คน ซ่อมฝายชะลอน้ำเพื่อเก็บน้ำให้ผืนป่า

ซีพีเอฟ พร้อมด้วยจิตอาสา 300 คนร่วมด้วยช่วยกันซ่อมฝายชะลอน้ำในโครงการซีพีเอฟ รักษ์นิเวศ ลุ่มน้ำป่าสัก เขาพระยาเดินธง เพื่อช่วยเก็บน้ำให้ผืนป่า ทั้งนี้ซีพีเอฟได้ริเริ่มโครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ประสานความร่วมมือภาครัฐและชุมชน เพิ่มพื้นที่สีเขียวให้ประเทศแล้วมากกว่า 10,000 ไร่ ร่วมบรรเทาผลกระทบจากภาวะโลกร้อน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก