WHY Sustainomy? รู้ทัน 3 ความล้มเหลวของระบบเก่า พร้อมสร้าง Future of Growth ด้วยเศรษฐกิจใหม่ เพื่อเติบโตได้อย่างไม่มีลิมิต
แม้ประเทศไทยจะถูกจัดให้เป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวลำดับแรกๆ ของอาเซียนและทั่วโลก แต่ยังไม่สามารถสร้างรายได้ที่ยั่งยืนและสมดุล เมื่อเทียบกับทรัพยากรที่ถูกทำลายหรือใช้ไป
ทำความรู้จัก ‘Purpose Trilemma’ เมื่อ 3Ps ขับเคลื่อน ‘ความยั่งยืน’ อาจเป็นข้อยกเว้นของกฏ ‘สามเส้าที่เข้ากันไม่ได้’
“ภายหลังการระบาด COVID-19 แลนด์สเคปและบริบททางธุรกิจเปลี่ยนแปลงไปจนถึงขั้นที่เราอาจไม่สามารถมองเห็นแบบแผนในการบริหารธุรกิจได้อย่างชัดเจน อย่างไรก็ดี ดร. ปีเตอร์ ดรักเกอร์ (Dr. Peter Drucker) บิดาแห่งการจัดการสมัยใหม่เคยกล่าวไว้ว่า “เราไม่สามารถบริหารจัดการสิ่งที่เราประเมินค่าไม่ได้” ดังนั้น เพื่อการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ เราจำเป็นจะต้องรู้ก่อนว่าเรากำลังจะต้องรับมือกับอะไร”
แบรนดิ ร่วม UN in China พร้อมนำเสนอโมเดล People-Public-Private-Partnership เพื่อการเติบโตที่ยั่งยืน
BRANDi and Companies (แบรนดิ) บริษัทที่ปรึกษาสัญชาติไทยที่มุ่งข้บเคลื่อนองค์กรยั่งยืนให้มีความพร้อมสำหรับอนาคต ร่วมเวทีระดับโลก ในงานประชุม Dialogue on Innovative Approaches to Accelerating Sustainable Development: Country, Regional and Global Actions for a Better Future ที่จัดขึ้น ณ กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน
ธุรกิจ SME จะปรับตัวอย่างไร เมื่อโลกธุรกิจเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ?
ธุรกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดย่อม (MSMEs) เปรียบเสมือนกระดูกสันหลังของเศรษฐกิจโลก เนื่องจากธุรกิจ MSMEs คิดเป็นสัดส่วนถึง 90% ของธุรกิจทั่วโลก หรือ 7 ใน 10 ของการจ้างงานทั่วโลก อีกทั้งยังมีส่วนร่วมใน GDP โลกกว่า 50%
มองเศรษฐกิจและสถานการณ์โลก ผ่าน 10 บทเรียนจาก Summer Davos
คุณปิยะชาติ (อาร์ม) อิศรภักดี ประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัท แบรนดิ แอนด์ คอมพานีส์ (BRANDi and Companies) แชร์ 10 Lesson Learn จากการไปร่วม WEF Summer Davos ที่ Dalian ประเทศจีน เพื่อทำความเข้าใจ New World Landscape เพิ่มความสามารถในการขับเคลื่อนสู่อนาคต
แบรนดิ แนะทรานส์ฟอร์มสู่ ‘Future-ready Economy’ ผนึก 3 เสาหลักร่วมขับเคลื่อน รับมือความเสี่ยงระบบเศรษฐกิจในอนาคต
เเบรนดิ (BRANDi and Companies) ชูเเนวคิด “Future-ready Economy” ผนึกความร่วมมือทั้ง 3 เสาหลัก เร่งทรานส์ฟอร์มพร้อมรับมือทุกความเสี่ยง มุ่งสร้างเศรษฐกิจที่เเข็งเเกร่งและอนาคตที่ยั่งยืน
ทำความรู้จัก ‘Sustainomy’ ภาคต่อระบบทุนนิยมใหม่ เมื่อโครงสร้างเศรษฐกิจแบบเดิม ไม่สามารถเอื้อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนได้จริง
แม้ระบบเศรษฐกิจปัจจุบันจะสร้างผลประโยชน์มากมายให้มนุษยชาติ แต่ผลประโยชน์เหล่านั้นไม่สามารถเทียบได้กับผลเสียที่ระบบเศรษฐกิจแบบเดิมๆ สร้างขึ้น อาทิ ความไม่เป็นธรรมในการกระจายความมั่งคั่ง สภาพความเป็นอยู่ของประชาชนที่ย่ำแย่ลง รวมทั้งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่ไม่ยั่งยืน
แบรนดิ แนะทรานส์ฟอร์มด้วย ‘Future-ready Economy’ ชู 3 ยุทธศาสตร์ เลิกโตแบบเปราะบาง สู่แข็งแกร่งอย่างยั่งยืน
ที่ผ่านมา โลกขับเคลื่อนการเติบโตโดยเน้นมิติของการสร้างความมั่งคั่ง (Wealth Creation) โดยลืมให้ความสำคัญกับการกระจายความมั่งคั่ง (Wealth Distribution) รวมทั้งโครงสร้างระบบเศรษฐกิจโดยรวมที่มองในมิติของ Profit เป็นหลัก ทำให้ลืมคิดถึงการหาจุดสมดุลทั้งในมิติของ People และ Planet ควบคู่ไปด้วย
มุมมองซีอีโอไทย จากงานประชุมผู้นำโลก COP28
ในงานประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 28 (COP28) ที่นครดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับการแก้ปัญหาสภาพภูมิอากาศเกิดขึ้นมากมาย อีกทั้งยังมีประกาศจากนาย António Guterres เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ในปี 2566 ว่า เราได้สิ้นสุดภาวะโลกร้อนแล้ว และกำลังเข้าสู่ ภาวะโลกเดือด แสดงให้เห็นถึงภาวะวิกฤตของปัญหาสภาพภูมิอากาศ